Total Pageviews

Saturday, December 5, 2009

กรีซ:Greece



ชื่อทางการ สาธารณรัฐเฮลเลนิก
(Hellenic Republic)
เมืองหลวง เอเธนส์
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1957
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 52 จังหวัด
วันได้เอกราช ค.ศ. 1829 (จากจักรวรรดิออตโตมาน)
รัฐธรรมนูญ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1975 แก้ไข มีนาคม ค.ศ.1986
ระบบกฎหมาย อิงประมวลกฎหมายโรมัน
วันชาติ วันได้เอกราช(ประกาศสงครามเอกราช 25 มีนาคม(ค.ศ. 1821)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎร(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล และบังคับ อายุ 18 ปี

กัมพูชา:Cambodia


ชื่อทางการ ราชอาณาจักรกัมพูชา
(Kingdom of Cambodia)
เมืองหลวง พนมเปญ
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
รูปแบบการปกครอง ระบบรัฐสภา มีกษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ (เป็นระบบที่สถาปนาขึ้นมาใหม่เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1993)นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 20 จังหวัด
วันได้เอกราช 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1953(จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 21 กันยายน ค.ศ. 1993
ระบบกฎหมาย อิงซิวิลลอว์ฝรั่งเศสและทฤษฎีคอมมิวนิสต์ ปัจจุบันได้รับอิทธิพลจากคอมมอนลอว์เพิ่มขึ้น
วันชาติ วันได้เอกราช 8 พฤศจิกายน (ค.ศ. 1953)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาแห่งชาติ
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

กัวเตมาลา:Guatemala


ชื่อทางการ สาธารณรัฐกัวเตมาลา
(Republic of Guatemala)
เมืองหลวง กัวเตมาลาซิตี
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 22 เขตจังหวัด
วันได้เอกราช 15 กันยายน ค.ศ. 1821(จากสเปน)
รัฐธรรมนูญ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1985 มีผลบังคับใช้ 14 มกราคม ค.ศ. 1986 แก้ไขเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1993
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 15 กันยายน ค.ศ. 1821
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาแห่งสาธารณรัฐ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี (ทหารที่ปฏิบัติหน้าที่เวรยามไม่ไปใช้สิทธิ์ก็ได้)

กาตาร์:Qatar


ชื่อทางการ รัฐกาตาร์
(State of Quatar)

เมืองหลวง โดฮา
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 21 กันยายน ค.ศ. 1971
ระบบการปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolute monarchy) อามีร์เป็นทั้งประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 9 เขตนคราภิบาล
วันได้เอกราช 3 กันยายน ค.ศ. 1971(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ ฉบับชั่วคราว 19 เมษายน ค.ศ. 1972 อยู่ในระหว่างร่างฉบับใหม่
ระบบกฎหมาย ระบบกฎหมายที่อามีร์ควบคุม มีการใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและใช้กฎหมายอิสลามในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบุคคล
วันชาติ 3 กันยายน (ค.ศ. 1971)
ฝ่ายบริหาร อามีร์ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาที่ปรึกษา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์
สิทธิการเลือกตั้ง ไม่มี

กานา:Ghana


ชื่อทางการ สาธารณรัฐกานา
(Republic of Ghana)
เมืองหลวง อักกรา
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 8 มีนาคม ค.ศ. 1957
รูปแบบการปกครอง สาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกรอง 10 แคว้น
วันได้เอกราช 6 มีนาคม ค.ศ. 1957(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 28 เมษายน ค.ศ. 1992
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและคัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 6 มีนาคม (ค.ศ. 1957)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายตุลาการ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

กาบอง:Gabon


ชื่อทางการ สาธารณรัฐกาบอง
(Republic of Gabon)
เมืองหลวง ลีเบรอวิล
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 9 จังหวัด
วันได้เอกราช 17 สิงหาคม ค.ศ. 1960(จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 14 มีนาคม ค.ศ. 1991
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ลอว์ฝรั่งเศสและคัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันปฏิวัติ(วันสถาปนาพรรคประชาธิปไตยกาบอง) 12 มีนาคม (ค.ศ. 1968)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภานิติบัญญัติ(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาแห่งชาติ
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 21 ปี

กายอานา:Guyana


ชื่อทางการ สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา
(Cooperative Republic of Guyana)
เมืองหลวง จอร์จทาวน์
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาใต้
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1966
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบกึ่งประธานาธิบดี มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 ภาค
วันได้เอกราช 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1966(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1980
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ ผสมผสานกับกฎหมายโรมันและดัตช์
วันชาติ วันสาธารณรัฐ 23 กุมภาพันธ์ (1970)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดีคนที่ 1 นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีคนที่ 1 คณะรัฐบาล
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล 18 ปี

กินี:Guinea



ชื่อทางการ สาธารณรัฐกินี
(Republic of Guinea)
เมืองหลวง โกนากรี
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1958
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบประธานาธิบดี มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 7 เขต
วันได้เอกราช 2 ตุลาคม 1958 (จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 23 ธันวาคม ค.ศ.1990
ระบบกฎหมาย ไม่มีข้อมูล
วันชาติ วันได้เอกราช 2 ตุลาคม(ค.ศ. 1958)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา (Assemblée Nationale.) (สภาเดียว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

กินีบิสเซา:Guinea-Bissau



ชื่อทางการ สาธารณรัฐกินีบิสเซา
(Republic of Guinea-Bissau)
เมืองหลวง บิสเซา
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1974
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 9 เขต
วันได้เอกราช 24 กันยายน ค.ศ. 1974(จากโปรตุเกส)
รัฐธรรมนูญ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1984 แก้ไขหลายครั้ง ครั้งล่าสุด ค.ศ. 1996
ระบบกฎหมาย ไม่มีข้อมูล
วันชาติ วันได้เอกราช 24 กันยายน (ค.ศ. 1974)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชนแห่งชาติ(สภาเดียว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เกรนาดา:Grenada



ชื่อทางการ -
เมืองหลวง เซนต์จอร์เจส
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1974
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุข นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 6 ภาค
วันได้เอกราช 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1974(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1973
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ
วันชาติ วันได้เอกราช 7 กุมภาพันธ์(1974)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ(สมเด็จพระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ) ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา 2 (สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุดของรัฐสมาคมเวสต์ดินดีส์
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เกาหลีใต้:South Korea


ชื่อทางการ สาธารณรัฐเกาหลี
(Republic of Korea)
เมืองหลวง โซล
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1991
รูปแบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 9 จังหวัด
วันได้เอกราช 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945(จากญี่ปุ่น)
รัฐธรรมนูญ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988
ระบบกฎหมาย ผสมผสานระหว่างซิวิลลอว์ภาคพื้นยุโรป กฎหมายแองโกลอเมริกันและแนวความคิดโบราณของจีน
วันชาติ วันปลดปล่อย 15 สิหาคม( ค.ศ.1945)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 20 ปี

เกาลีเหนือ North Korea



ชื่อทางการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
(Democratic People’s Republic of Korea)
เมืองหลวง เปียงยาง
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1991
รูปแบบการปกครอง สาธารณรัฐ สังคมนิยม(มีพรรคการเมืองพรรคเดียว คือ พรรคคอมมิวนิสต์)
เขตการปกครอง 9 จังหวัด 3 เมืองพิเศษ
วันได้เอกราช 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945(จากญี่ปุ่น)
รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1948 แก้ไขล่าสุดเดือนกันยายน ค.ศ. 1998
ระบบกฎหมาย อิงซิวิลลอว์เยอรมันผสมกับอิทธิพลของกฎหมายญี่ปุ่นและทฤษฎีกฎหมายของคอมมิวนิสต์ ไม่ยอมรับอำนาจคำตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน 9 กันยายน (ค.ศ. 1948)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชนสูงสุด(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลกลาง
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 17 ปี

แกมเบีย:Gambia



ชื่อทางการ สาธารณรัฐแกมเบีย
(Republic of the Gambia)
เมืองหลวง บันจูล
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 21 กันยายน ค.ศ. 1965
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 6 ภาค
ได้เอกราช 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 24 เมษายน ค.ศ. 1970 พักใช้ กรกฎาคม ค.ศ. 1994 นำกลับมาใช้เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1997
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ ผสมกับกฎหมายอิสลามและคัสตอมมารีลอว์ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช 18 กุมภาพันธ์ (1965)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎร(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

โกตดิวัวร์:Cote d’Ivoire



ชื่อทางการ สาธารณรัฐโกตดิวัวร์
(Republic of Cote d’Ivoire)
เมืองหลวง ยามุสซุโกร
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 49 จังหวัด
ได้เอกราช 7 สิงหาคม ค.ศ. 1960(จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 3 ธันวาคม ค.ศ. 1960 แก้ไขหลังสุดเมื่อ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1998
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศสและคัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 7 สิงหาคม (ค.ศ.1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล 18 ปี

คองโก:Congo


ชื่อสามัญ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
(Democratic Republic of the Congo)
เมืองหลวง กินชาซา
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐประชาธิปไตย แบบกึ่งประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 จังหวัด
ได้เอกราช 30 มิถุนายน ค.ศ. 1960(จากเบลเยียม)
รัฐธรรมนูญ พฤศจิกายน ค.ศ. 1998
ระบบกฎหมาย อิงซิวิลลอว์เบลเยียมและกฎหมายเผ่า ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันเฉลิมฉลองเอกราช 30 มิถุนายน (ค.ศ. 1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาร่างรัฐธรรมนูญชั่วคราว(สภาเดี่ยว) จัดตั้งเมื่อ ค.ศ. 2000
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 18 ปี

คองโก:Congo



ชื่อทางการ สาธารณรัฐคองโก
(Republic of Congo)
เมืองหลวง บราซซาวิล
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบประธานาธิบดี มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล มีระบบพรรคการเมืองหลายพรรค
เขตการปกครอง 9 ภาค
ได้เอกราช 15 สิงหาคม ค.ศ. 1960(จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ รัฐสภาชั่วคราวเห็นชอบร่างใหม่ กันยายน ค.ศ. 2000
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศสและคัสตอมมารีลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 15 สิงหาคม(1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

คอโมโรส:Comoros



ชื่อทางการ สหพันธ์สาธารณรัฐอิสลามคอโมโรส
(Federal Islamic Republic of the Comoros)
เมืองหลวง โมโรนี
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1975
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล มีระบบพรรคการเมืองหลายพรรค
เขตการปกครอง 3 เกาะ
ได้เอกราช 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1975(จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 20 ตุลาคม ค.ศ.1996
ระบบกฎหมาย กฎหมายฝรั่งเศสและกฎหมายอิสลาม
วันชาติ วันได้เอกราช 6 กรกฎาคม (1975)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภานิติบัญญัติ(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาสหพันธ์
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

คอสตาริกา:Costarica



ชื่อทางการ สาธารณรัฐคอสตาริกา
( Republic of Costa Rica)
เมืองหลวง ซานโอเซ
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 7 จังหวัด
ได้เอกราช 15 กันยายน ค.ศ. 1821(จากสเปน)
รัฐธรรมนูญ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1949
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์สเปน ไม่ยอมรับคำตัดสินอำนาจการตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 15 กันยายน (ค.ศ. 1821)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี 2 คน คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภานิติบัญญัติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 18 ปี

คาซัคสถาน:Kazakhstan



ชื่อทางการ สาธารณรัฐคาซัคสถาน
(Republic of Kazakhstan)
เมืองหลวง อัลมาตี
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 2 มีนาคม ค.ศ. 1992
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรี(แต่งตั้งจากประธานาธิบดี) เป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 19 เขต
ได้เอกราช 16 ธันวาคม ค.ศ. 1991(จากสหภาพโซเวียต เดิมชื่อว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค)
รัฐธรรมนูญ 28 มกราคม ค.ศ. 1993
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันสาธารณรัฐ 25 ตุลาคม(ค.ศ.1990)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภามาจิลิส
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

คิริบาส:Kiribati



ชื่อทางการ สาธารณรัฐคิริบาส
(Republic of Kiribati)
เมืองหลวง ตาระวา
ที่ตั้ง เขตโอเชียเนีย
สมาชิกสหประชาชาติ 14 กันยายน ค.ศ. 1999
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐ
เขตการปกครอง 3 หน่วยการปกครอง
ได้เอกราช 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1979(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 12 กรกฎาคม(1979)
ระบบกฎหมาย ผสมผสานระหว่างระบบซิวิลลอว์ภาคพื้นยุโรป กฎหมายแองโกลอเมริกันและแนวความคิดโบราณของจีน
วันชาติ วันได้เอกราช 12 กรกฎาคม (ค.ศ. 1979)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์, ศาลสูง,ศาลคณะลูกขุน
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

คิวบา:Cuba



ชื่อทางการ สาธารณรัฐคิวบา
(Republic of Cuba)
เมืองหลวง ฮาวานา
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ สังคมนิยม มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว(พรรคคอมมิวนิสต์)
เขตการปกครอง 14 จังหวัด
ได้เอกราช 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1902(จากสเปน 10 ธันวาคม 1898, บริหารโดยสหรัฐอเมริการะหว่าง 1898-1902)
รัฐธรรมนูญ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1976 แก้ไข กรกฎาคม ค.ศ. 1992
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายสเปนและกฎหมายอเมริกัน โดยมีหลักการหลายอย่างจากทฤษฎีกฎหมายคอมมิวนิสต์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราชจากสเปน 10 ธันวาคม (ค.ศ.1898)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาพลังประชาชนแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุดประชาชน
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 16 ปี

คีร์กีซสถาน :Kyrgyzstan



ชื่อทางการ สาธารณรัฐคีร์กีซสถาน
(Republic of Kyrgyzstan)
เมืองหลวง บิชเคก
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 2 มีนาคม ค.ศ. 1992
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบกึ่งประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 7 แคว้น 1 เมือง
วันได้เอกราช 31 สิงหาคม ค.ศ. 1991(จากสหภาพโซเวียต อดีตมีชื่อว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเคิร์กิส)
รัฐธรรมนูญ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 แก้ไข 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 31 สิงหาคม (ค.ศ.1991)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

คูเวต:Kuwait



ชื่อทางการ รัฐคูเวต
(State of Kuwait)
เมืองหลวง คูเวตซิตี
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1963
ระบบการปกครอง มีลักษณะเป็นทั้งแบบประธานาธิบดี และแบบรัฐสภา อามีร์เป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล

เขตการปกครอง 5 เขต
วันได้เอกราช 19 มิถุนายน ค.ศ. 1961(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1962
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์อังกฤษแต่ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลใช้กฎหมายอิสลาม ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 25 กุมภาพันธ์(ค.ศ. 1950)
ฝ่ายบริหาร อามีร์ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ (สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์
สิทธิการเลือกตั้ง 10 % มีสิทธิลงคะแนนเสียง และเพียง 5 % เท่านั้นที่ไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงจริง

เคนยา:Kenya



ชื่อทางการ สาธารณรัฐเคนยา
(Republic of Kenya)
เมืองหลวง ไนโรบี
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1963
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 7 จังหวัด 1 พื้นที่
ได้เอกราช 12 ธันวาคม ค.ศ. 1963(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1963 แก้ไขหลังสุด ค.ศ. 1997
ระบบกฎหมาย อิงคอมมมอนลอว์อังกฤษ กฎหมายเผ่า และกฎหมายอิสลาม ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช 12 ธันวาคม (ค.ศ. 1963)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์ ,ศาลสูง
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เคปเวิร์ด:Cape Verde



ชื่อทางการ สาธารณรัฐเคปเวิร์ด
(Republic of Cape Verde)
เมืองหลวง ไปรอา
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 16 กันยายน ค.ศ. 1975
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นากรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 14 เขต
ได้เอกราช 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1975(จากโปรตุเกส)
รัฐธรรมนูญ 25 กันยายน ค.ศ. 1992 แก้ไข 23 พฤศจิกายน ค.ศ.1995
วันชาติ วันได้เอกราช 5 กรกฎาคม (ค.ศ. 1975)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

แคนาดา:Canada



ชื่อทางการ -
เมืองหลวง ออตตาวา
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สมาพันธรัฐ แบบรัฐสภา มีพระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 จังหวัด และ 2 เทอร์ริทอรี
ได้เอกราช 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1867(จากสหาชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 17 เมษายน ค.ศ. 1982 แต่เดิมมีพระราชบัญญัติอเมริกาเหนือของอังกฤษปี ค.ศ. 1867
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ เว้นที่จังหวัดควิเบ็กเป็นซิวิลลอว์อิงกฎหมายฝรั่งเศส ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช(วันแคนาดา) 1 กรกฎาคม (ค.ศ. 1867)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ(พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ) ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) ประกอบด้วย สภาสูง(วุฒิสภา) และสภาล่าง(สภาสามัญ)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

แคเมอรูน:Cameroon



ชื่อทางการ สาธารณรัฐแคเมอรูน
(Republic of Cameroon)
เมืองหลวง ยาอุนเด
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบประธานาธิบดี และแบบรัฐเดี่ยว ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล มีระบบพรรคการเมืองหลายพรรค
เขตการปกครอง 10 จังหวัด
ได้เอกราช 1 มกราคม ค.ศ. 1960(เดิมเป็นดินแดนภาวะทรัสตีของสหประชาชาติภายใต้การบริหารโดยฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1972 แก้ไข มกราคม ค.ศ.1996
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศส ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันสาธารณรัฐ 20 พฤษภาคม (ค.ศ. 1972)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 20 ปี

โครเอเชีย:Croatia



ชื่อทางการ สาธารณรัฐโครเอเชีย
(Republic of Croatia)
เมืองหลวง ซาเกร็บ
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1992
รูปแบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบรัฐสภา ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 20 จังหวัด 1 เมือง
วันได้เอกราช 25 มิถุนายน ค.ศ. 1991(จากยูโกสลาเวีย)
รัฐธรรมนูญ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1990
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันสาธารณรัฐ 30 พฤษภาคม (ค.ศ. 1990)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ สภาแห่งจังหวัด และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูง,ศาลรัฐธรรมนูญ
สิทธิการเลือกตั้ง อายุ 16 ปี(มีงานทำ) สากล อายุ 18 ปี

โคลัมเบีย:Colombia



ชื่อทางการ สาธารณรัฐโคลัมเบีย
(Republic of Colombia)
เมืองหลวง โบโกตา
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาใต้
สมาชิกสหประชาชาติ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 23 จังหวัด 1 แคปิตอลดิสตริกท์
ได้เอกราช 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1810(จากสเปน)
รัฐธรรมนูญ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1991
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายสเปน ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช 20 กรกฎาคม (ค.ศ. 1810)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

จอร์เจีย:Georgia



ชื่อทางการ สาธารณรัฐจอร์เจีย
(Republic of Georgia)
เมืองหลวง ทบิลิซี
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1992
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบกึ่งประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 55 เรยอน 9 เมือง 2 สาธารณรัฐปกครองตนเอง
วันได้เอกราช 9 สิงหาคม ค.ศ. 1991(จากสหภาพโซเวียต) อดีตชื่อว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย
รัฐธรรมนูญ 17 ตุลาคม ค.ศ. 1995
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 9 สิงหาคม(ค.ศ. 1991)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล 18 ปี

จอร์แดน:Jordan



ชื่อทางการ ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน
(Hashemite Kingdom of Jordan)
เมืองหลวง อัมมาน
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 12 จังหวัด
วันได้เอกราช 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1946(ดินแดนอาณัติของสันนิบาตชาติภายใต้การบริหารของอังกฤษ)
รัฐธรรมนูญ 8 มกราคม ค.ศ. 1952
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายอิสลามและกฎหมายฝรั่งเศส ไม่ยอมรับอำนาจตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 25 พฤษภาคม (ค.ศ. 1946)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลศาสนาอิสลาม, ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 20 ปี

จาเมกา:Jamaica



ชื่อทางการ -
เมืองหลวง คิงส์ตัน
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 18 กันยายน ค.ศ. 1962
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 14 ภาค
วันได้เอกราช 6 สิงหาคม ค.ศ. 1962(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1962
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ ไม่ยอมรับอำนาจตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช(จันทร์แรกของเดือนสิงหาคม) (ค.ศ. 1962)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ(พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ) ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

จิบูตี:Djibouti



ชื่อทางการ สาธารณรัฐจิบูตี
(Republic of Djibouti)
เมืองหลวง จิบูตี
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1977
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบกึ่งประธานาธิบดี (semi-presidential republic)ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 5 เขต
ได้เอกราช 27 มิถุนายน ค.ศ. 1977(จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 4 กันยายน ค.ศ.1992
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศส แนวปฏิบัติดั้งเดิมและกฎหมายอิสลาม
วันชาติ วันได้เอกราช 27 มิถุนายน (ค.ศ. 1977)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎร(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล ไม่ทราบอายุ

จีน:China



ชื่อทางการ สาธารณรัฐประชาขนจีน
(People’s Republic of China)
เมืองหลวง ปักกิ่ง
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐสังคมนิยม มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว (single-party socialist republic)
เขตปกครอง 23 มณฑล 5 เขตปกครองตนเอง และ 3 เขตเทศาภิบาล
วันได้เอกราช รวมประเทศภายใต้การนำของราชวงศ์จิน 221 ปีก่อนคริสต์ศักราช
รัฐธรรมนูญ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1982
ระบบกฎหมาย อยู่ในระหว่างปรับปรุงกฎหมายแพ่ง กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญาและกฎหมายพาณิชย์
วันชาติ วันสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน 1 ตุลาคม (ค.ศ. 1949)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายตุลาการ สภาประชาชนแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ สภาประชาชนสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ชาด:Chad



ชื่อทางการ สาธารณรัฐชาด
(Republic of Chad)
เมืองหลวง เอ็นจาเมนา
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 14 มณฑล
ได้เอกราช 11 สิงหาคม ค.ศ. 1960 (จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 31 มีนาคม ค.ศ. 1995
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์อังกฤษและคัสตอมมารีลอว์ของชาดเอง ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 11 สิงหาคม (ค.ศ. 1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ชิลี:Chile



ชื่อทางการ สาธารณรัฐชิลี
(Republic of Chile)
เมืองหลวง ซานติอาโก
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาใต้
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการเลือกตั้ง 13 ภาค
ได้เอกราช 18 กันยายน ค.ศ. 1810(จากสเปน)
รัฐธรรมนูญ 11 กันยายน ค.ศ. 1980 มีผลบังคับใช้ 11 มีนาคม ค.ศ. 1981 แก้ไข 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1989, ค.ศ. 1993 และ ค.ศ. 1997
ระบบกฎหมาย อิงประมวลกฎหมายปี ค.ศ. 1857 ที่ได้จากกฎหมายสเปนและประมวลกฎหมายที่ได้รับอิทธิพลจากกฎหมายฝรั่งเศสและออสเตรีย ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 18 กันยายน (ค.ศ. 1810)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาแห่งชาติ(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 18 ปี

เช็ก:Czeck



ชื่อทางการ สาธารณรัฐเช็ก
(Czech Republic)
เมืองหลวง ปราก
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 9 มกราคม ค.ศ. 1993
ระบบการการปกครอง สหพันธ์สาธารณรัฐ แบบรัฐสภา ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 13 เขต
ได้เอกราช 1 มกราคม ค.ศ. 1993(เชโกสโลวาเกียแตกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสโลวะเกีย)
รัฐธรรมนูญ ให้สัตยาบัน 16 ธันวาคม ค.ศ. 1992 มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม ค.ศ. 1993
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์ที่อิงประมวลกฎหมายของออสโตรฮังการเรียน ดัดแปลงโดยทฤษฎีกฎหมายคอมมิวนิสต์ ไม่ยอมรับอำนาจตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันสถาปนาสาธารณรัฐ 28 ตุลาคม (ค.ศ. 1918)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด, ศาลรัฐธรรมนูญ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ซานมารีโน:San Marino



ชื่อทางการ สาธารณรัฐซานมารีโน
( Republic of San Marino)
เมืองหลวง ซานมารีโน
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 2 มีนาคม ค.ศ. 1992
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา ประธานาธิบดี(Captains Regent)เป็นประมุขรัฐคราวละ 2 คน โดยมหาสภา (Grand and General Council)เป็นผู้ทำหน้าที่เลือกในทุก 6 เดือน มีลักษณะเหมือนกับการปกครองในสมัยโรมันเรืองอำนาจ
เขตการปกครอง 9 ภาค
ได้เอกราช 3 กันยายน ค.ศ. 301
รัฐธรรมนูญ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1600 กฎหมายเลือกตั้งปี 1926 ใช้เป็นรัฐธรรมนูญ
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์โดยได้รับอิทธิพลจากกฎหมายอิตาลี ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับจากศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันเฉลิมฉลองการสถาปนาเป็นสาธารณรัฐ 3 กันยายน ( ค.ศ. 301)
ฝ่ายบริหาร อำนาจบริหารที่แท้จริงอยู่กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ฝ่ายนิติบัญญัติ มหาสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ สภาสิบสอง(เฮาส์ออฟทเวลฟ์)
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ซามัว:Samoa



ชื่อทางการ รัฐเอกราชซามัว
(Independent State of Samoa)
เมืองหลวง อาปีอา
ที่ตั้ง เขตโอเชียเนีย
สมาชิกสหประชาชาติ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1976
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา มีกษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 11 เขต
วันได้เอกราช 1 มกราคม ค.ศ. 1962(เดิมเป็นดินแดนภาวะทรัสตีของสหประชาชาติภายใต้การบริหารของนิวซีแลนด์)
รัฐธรรมนูญ 1 มกราคม ค.ศ. 1962
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและประเพณีท้องถิ่น ไม่ยอมรับอำนาจการการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 1 มิถุนายน (ค.ศ. 1962)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภานิติบัญญัติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูง,ศาลอุทธรณ์
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 21 ปี

ซาอุดีอาระเบีย:Saudi Arabia



ชื่อทางการ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย
(Kingdom of Saudi Arabia)
เมืองหลวง ริยาด
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์(absolute monarchy)มีกษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดทางการเมือง ทรงเป็นทั้งประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 14 เอมิเรตส์
วันได้เอกราช 23 กันยายน ค.ศ. 1932(รวมประเทศ)
รัฐธรรมนูญ ประกาศใช้เบสิกลอว์ ค.ศ. 1993
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายอิสลาม แต่มีการนำกฎหมายทางโลกมาใช้เหมือนกัน หากเกิดการขัดแย้งทางการค้า จะมีกรรมาธิการพิเศษทำการตัดสินคดีความ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันรวมประเทศ 23 กันยายน (ค.ศ. 1932)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาที่ปรึกษา
ฝ่ายตุลาการ สภายุติธรรมสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง ไม่มี

ซิมบับเว:Zimbabwe



ชื่อทางการ สาธารณรัฐซิมบับเว
(Republic of Zimbabwe)
เมืองหลวง ฮาราเร
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1980
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบกึ่งประธานาธิดี มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 8 จังหวัด 2 เมือง
ได้เอกราช 18 เมษายน ค.ศ. 1980(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1979
ระบบกฎหมาย ผสมผสานระหว่างคอมมอนลอว์โรมัน -ดัตช์ และคอมมอนลอว์อังกฤษ
วันชาติ วันได้เอกราช 18 เมษายน (1980)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี 2 คน นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ สภาสูงสุด, ศาลสูง
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ซีเรีย:Syria



ชื่อทางการ สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย
(Syrian Arab Republic)
เมืองหลวง ดามัสกัส
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบรัฐสภา (เพียงผิวเผิน)แต่อยู่ภายใต้รัฐบาลทหาร มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว
เขตการปกครอง 14 จังหวัด
ได้เอกราช 17 เมษายน ค.ศ. 1946(เดิมเป็นดินแดนอาณัติของสันนิบาตชาติภายใต้การบริหารของฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 13 มีนาคม ค.ศ. 1973
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายอิสลามและระบบซิวิลลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 17 เมษายน (ค.ศ. 1946)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชน (สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงรัฐธรรมนูญสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ซูดาน:Sudan



ชื่อทางการ สาธารณรัฐซูดาน
(Republic of the Sudan)
เมืองหลวง คาร์ทูม
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 26 รัฐ
ได้เอกราช 1 มกราคม ค.ศ. 1956(จากอียิปต์และสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 12 เมษายน ค.ศ. 1973 ระงับใช้ 6 เมษายน ค.ศ. 1985 รัฐธรรมนูญชั่วคราว 10 ตุลาคม ค.ศ. 1985 ระงับใช้ชั่วคราวหลังรัฐประหาร 30 มิถุนายน ค.ศ. 1989
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและกฎหมายอิสลาม ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช 1 มกราคม (ค.ศ. 1956)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด, ศาลปฏิวัติพิเศษ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 17 ปี

ซูรินาเม:Suriname



ชื่อทางการ สาธารณรัฐซูรินาเม
(Republic of Suriname)
เมืองหลวง ปารามาริโบ
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาใต้
สมาชิกสหประชาชาติ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1975
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 ภาค
ได้เอกราช 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975(จากเนเธอร์แลนด์)
รัฐธรรมนูญ 30 กันยายน ค.ศ. 1987
ระบบกฎหมาย ไม่มีข้อมูล
วันชาติ วันได้เอกราช 25 พฤศจิกายน (ค.ศ. 1975)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดียว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เซเชลส์:Seychelles



ชื่อทางการ สาธารณรัฐเซเชลส์
(Republic of Seychelles)
เมืองหลวง วิกตอเรีย
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 21 กันยายน ค.ศ. 1976
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบประธานาธิบดี มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 23 เขต
ได้เอกราช 29 มิถุนายน ค.ศ. 1976(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1979
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ ซิวิลลอว์ฝรั่งเศส และคัสตอมมารีลอว์
วันชาติ วันปลดปล่อย(ฉลองรัฐประหาร) 5 มิถุนายน (ค.ศ. 1977)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชน(สภาเดียว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์,ศาลฎีกา
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 17 ปี

เซนต์คิตส์และเนวิส:Saint Kitts and Nevis



ชื่อทางการ -
เมืองหลวง บาสแตร์
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 23 กันยายน ค.ศ. 1983
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุขรัฐ นาบกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 14 เขต
วันได้เอกราช 19 กันยายน ค.ศ. 1983(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 19 กันยายน ค.ศ. 1983
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ
วันชาติ วันได้เอกราช 19 กันยายน (ค.ศ. 1983)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดียว)
ฝ่ายตุลาการ ศาสสูงสุดแคริบเบียนตะวันออก
สิทธิการเลือกตั้ง สากล ไม่ทราบอายุ

เซนต์ลูเซีย:Saint Lucia



ชื่อทางการ -
เมืองหลวง แคสตรีส์
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 18 กันยายน ค.ศ. 1979
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 11 เขต
วันได้เอกราช 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ
วันชาติ วันได้เอกราช 22 กุมภาพันธ์(ค.ศ. 1979)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ(พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ) ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา (สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุดแคริบเบียนตะวันออก
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์:Saint Vincent and the Grenadines



ชื่อทางการ -
เมืองหลวง คิงส์ทาวน์
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 16 กันยายน ค.ศ. 1980
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรัเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 6 เขต
วันได้เอกราช 27 ตุลาคม ค.ศ. 1979(จากสหราชอาณาจักร)
รัฐธรรมนูญ 27 ตุลาคม (ค.ศ. 1979)
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ
วันชาติ วันได้เอกราช27 ตุลาคม (ค.ศ. 1979)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ(พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ) ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุดแคริบเบียนตะวันออก
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เซเนกัล:Senegal



ชื่อทางการ สาธารณรัฐเซเนกัล
(Republic of Senegal)
เมืองหลวง ดาการ์
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 28 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบกึ่งประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 ภาค
วันได้เอกราช 20 สิงหาคม ค.ศ. 1960 (จากฝรั่งเศส)
รัฐธรรมนูญ 3 มีนาคม ค.ศ. 1963 แก้ไขครั้งสุดท้ายปี ค.ศ. 1991
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศส ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช4 เมษายน (ค.ศ. 1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เซาโตเมและปรินซิเป :Sao Tome and Principe



ชื่อทางการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเซาโตเมและปรินซิเป
(Democratic Republic of Sao Tome and Principe)
เมืองหลวง เซาโตเม
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 16 กันยายน ค.ศ. 1975
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบกึ่งประธานาธิบดี มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 2 เขต
วันได้เอกราช 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1975(จากโปรตุเกส)
รัฐธรรมนูญ 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 ให้ความเห็นชอบเมื่อ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1982
ระบบกฎหมาย อิงระบบกฎหมายโปรตุเกสและคัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1975)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชนแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

Elephantstay,Thailand,

Elephantstay,Thailand,
Llive,work and play with elephants