Total Pageviews

Saturday, November 28, 2009

มอริเตเนีย:Mauritania



ชื่อทางการ สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย
(Islamic Republic of Mauritania)
เมืองหลวง นูแอกชอต
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1961
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐอิสลาม ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตปกครอง 12 เขต
วันได้เอกราช 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1960(จากฝรั่งเศส)
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายอิสลาม
วันชาติ วันได้เอกราช 28 พฤศจิกายน (ค.ศ.1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา (สภาคู่) วุฒิสภา และสภาแห่งชาติ
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

มอลตา:Malta


ชื่อทางการ สาธารณรัฐมอลตา
(Republic of Malta)
เมืองหลวง วัลเลตตา
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1964
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบรัฐสภา ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง ไม่มี
วันได้เอกราช 21 กันยายน ค.ศ. 1964(จากสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและซิวิลลอว์โรมัน ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช 21 กันยายน
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎร(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญและศาลฎีกา
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

มอลโดวา:Moldova



ชื่อทางการ สาธารณรัฐมอลโดวา
(Republic of Moldova)
เมืองหลวง คิชิเนฟ
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 2 มีนาคม ค.ศ. 1992
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 เขตใหญ่ 1 เขตนคราภิบาล 1 หน่วยปกครองตนเอง
วันได้เอกราช 27 สิงหาคม ค.ศ. 1991(จากสหภาพโซเวียต เดิมเรียกว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลโดวา)
วันชาติ วันได้เอกราช 27 สิงหาคม ค.ศ. 1991
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด, ศาลรัฐธรรมนูญ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

มัลดีฟส์:Maldives



ชื่อทางการ สาธารณรัฐมัลดีฟส์
(Republic of Maldives)
เมืองหลวง มาเล
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 21 กันยายน ค.ศ. 1965
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 19 เขต
วันได้เอกราช 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1965(จากสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายอิสลาม ผสมผสานกับคอมมอนลอว์อังกฤษโดยเฉพาะในด้านการค้า ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 26 กรกฎาคม (ค.ศ. 1965)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชน(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 21 ปี

มาดากัสการ์:Madagascar


ชื่อทางการ สาธารณรัฐมาดากัสการ์
(Republic of Madagascar)
เมืองหลวง อันตานานาริโว
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 6 จังหวัด
วันได้เอกราช 26 มิถุนายน ค.ศ. 1960(จากฝรั่งเศส)
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศสและกฎหมายประเพณีมาลากาซี ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 26 มิถุนายน(ค.ศ. 1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชนแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด,ศาลรัฐธรรมนูญ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

มาซิโดเนีย:Macedonia


ชื่อทางการ สาธารณรัฐมาซิโดเนีย
(Republic of Macedonia)
เมืองหลวง สโกเปีย
สมาชิกสหประชาชาติ 1 ธันวาคม ค.ศ. ค.ศ. 2000
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมข นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 123 เขตนคราภิบาล
รัฐธรรมนูญ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 บังคับใช้ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันปฏิวัติ 2 สิงหาคม(ค.ศ. 1903)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ, ศาลสูงแห่งสาธารณรัฐ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

มาลาวี:Malawi


ชื่อทางการ สาธารณรัฐมาลาวี
(Republic of Malawi)
เมืองหลวง ลิลองเว
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1964
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 24 เขต
วันได้เอกราช 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1964 แก้ไข มกราคม ค.ศ. 1974
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและคัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 6 กรกฎาคม (ค.ศ. 1964)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐบาล
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงและศาลฎีกา
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

มาลี:Mali



ชื่อทางการ สาธารณรัฐมาลี
(Republic of Mali)
เมืองหลวง บามาโก
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 28 กันยายน ค.ศ. 1960
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
วันได้เอกราช 22 กันยายน ค.ศ. 1960(จากฝรั่งเศส)
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศสและคัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันฉลองการประกาศเป็นสาธารณรัฐ 22 กันยายน (ค.ศ. 1960)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 21 ปี

มาเลเซีย:Malaysia


ชื่อทางการ -
เมืองหลวง กัวลาลัมเปอร์
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1957
ระบบการปกครอง สหพันธรัฐ แบบรัฐสภา พระราชาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 13 รัฐ
วันได้เอกราช 31 สิงหาคม ค.ศ. 1957(จากสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย อิงระบบคอมมอนลอว์อังกฤษ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 31 สิงหาคม (ค.ศ. 1957)
ฝ่ายบริหาร พระราชาธิบดี(ยังดีเปอตวนอากง) นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 21 ปี

เม็กซิโก:Mexico


ชื่อทางการ สหรัฐเม็กซิโก
(United Mexican States)
เมืองหลวง เม็กซิโกซิตี
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สหพันธรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 31 รัฐ
วันได้เอกราช 16 กันยายน ค.ศ. 1810(จากสเปน)
ระบบกฎหมาย ผสมระหว่างทฤษฎีรัฐธรรมนูญสหรัฐฯกับระบบซิวิลลอว์ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงาน
วันชาติ วันได้เอกราช 16 กันยายน (ค.ศ. 1810)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาคู่) คือ วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 18 ปี

โมซัมบิก:Mozambique


ชื่อทางการ สาธารณรัฐโมซัมบิก
(Republic of Mozambique)
เมืองหลวง มาปูโต
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 16 กันยายน ค.ศ. 1975
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 จังหวัด
วันได้เอกราช 25 มิถุนายน ค.ศ. 1975(จากโปรตุเกส)
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์โปรตุเกสและคัสตอมมารีลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 25 มิถุนายน (ค.ศ. 1975)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งสาธารณรัฐ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลประชาชนทุกระดับ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

โมนาโก:Monaco


ชื่อทางการ ราชรัฐโมนาโก
(Principality of Monaco)
เมืองหลวง โมนาโก
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1993
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 4 เขต
วันได้เอกราช ค.ศ. 1419
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายฝรั่งเศส ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 19 พฤศจิกายน
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ รัฐมนตรีแห่งรัฐ(นายกรัฐมนตรี) คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 25 ปี

โมร็อกโก:Morocco,การเมืองและการปกครองของประเทศทั่วโลก


ชื่อทางการ ราชอาณาจักรโมร็อกโก
(Kingdom of Morocco)
เมืองหลวง ราบัต
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956
ระบบการปกครอง รัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 37 จังหวัดและ 5 มิวนิซิปาลซิตี
วันได้เอกราช 2 มีนาคม ค.ศ. 1956(จากฝรั่งเศส)
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายอิสลามและระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศสและสเปน
วันชาติ วันเฉลิมฉลองการขึ้นครองราชย์ของกษัตริย์ฮัดซันที่สอง 3 มีนาคม (ค.ศ. 1961)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎร(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล 21 ปี

ไมโครนีเซีย:Micronesia


ชื่อทางการ สหพันธรัฐไมโครนีเซีย
(Federated States of Micronesia)
เมืองหลวง โคโลเนีย
ที่ตั้ง เขตโอเชียเนีย
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1991
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 4 รัฐ
วันได้เอกราช 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986(เดิมเป็นดินแดนภาวะทรัสตีของสหประชาชาติภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกา)
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายดินแดนภาวะทรัสตีที่ปรับปรุงแก้ไข รัฐบัญญัติ เทศบัญญัติ กฎหมายคอมมอนลอว์และกฎหมายคัสตอมมารีลอว์
วันชาติ วันประกาศจัดตั้งสหพันธรัฐไมโครนีเซีย 10 มีนาคม(ค.ศ. 1979)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(คองเกรส)(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ยูกันดา:Uganda


ชื่อทางการ สาธารณรัฐยูกันดา
เมืองหลวง กัมปาลา
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1962
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตปกครอง 10 จังหวัด
วันได้เอกราช 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1962(จากสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและคัสตอมมารีลอว์ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโโยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช 9 ตุลาคม ค.ศ. (1962)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี 3 คน คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาต่อต้านแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์,ศาลฎีกา
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เซอร์เบียและมอนตีเนโกร:Serbia and Montenegro


ชื่อทางการ -

เมืองหลวงของเซอร์เบีย เบลเกรด
เมืองหลวงของมอนตีเนโกร
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 1 พฤศจิกายน ค.ศ.2000
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 2 สาธารณรัฐ และ 2 จังหวัดปกครองตนเอง
วันได้เอกราช 11 เมษายน ค.ศ. 1992 (สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียจัดตั้งโดยประกาศสืบทอดสาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย)
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันเซนต์วิตัส 28 มิถุนายน
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาสหพันธ์(สภาคู่) คือ สภาสาธารณรัฐ และสภาพลเมือง
ฝ่ายตุลาการ ศาลสหพันธ์ ศาลรัฐธรรมนูญ
สิทธิการเลือกตั้ง อายุ 16 ปี(แต่ต้องมีงานทำ) สากล อายุ 18 ปี

ยูเครน:Ukraine

ชื่อทางการ - เมืองหลวง เคียฟ ที่ตั้ง ทวีปยุโรป สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล เขตการปกครอง 24 เขต ได้เอกราช 24 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียตเมื่อ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1991 เดิมมีชื่อว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ วันชาติ วันได้เอกราช 24 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาเดียว คือ สภาสูงสุด (Supreme Rada) มีสมาชิก 450 คน (เลือกตั้งโดยตรง 225 ที่นั่ง แบบสัดส่วน 225 ที่นั่ง) โดยมีการเลือกตั้งทุก ๆ 4 ปี ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด,ศาลรัฐธรรมนูญ สิทธิการเลือกตั้ง สากล 18 ปี

เยเมน:Yemen


ชื่อทางการ สาธารณรัฐเยเมน
(Republic of Yemen)
เมืองหลวง ซานา
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 30 กันยายน ค.ศ.1947
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 17 เขต
วันได้เอกราช 22 พฤษภาคม 1990 วันสถาปนาสาธารณรัฐเยเมน
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและกฎหมายอิสลาม แต่สามารถอุทธรณ์ต่อสุลต่านได้ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันรวมชาติ 22 พฤษภาคม (ค.ศ. 1990)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภานิติบัญญัติ(สภาคู่) คือ สภาศุระ(น่าจะหมายถึงวุฒิสภา) และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ สภาสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เยอรมนี:Germany


ชื่อทางการ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
(Federal Republic of Germany)
ชื่อเมืองหลวง เบอร์ลิน
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 18 กันยายน ค.ศ. 1973
ระบบการปกครอง สหพันธ์สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 16 รัฐ
วันได้เอกราช 18 มกราคม ค.ศ. 1871 (เยอรมนีรวมเป็นจักรวรรดิ แบ่งแยกเป็น 4 เขตภายใต้การยึดครองของสหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต และฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. 1945 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ; เป็นสาธารณรัฐเยอรมนี(เยอรมนีตะวันตก) เมื่อ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 โดยรวมเอาเขตยึดครองของสหราชอาณาจักร สหรัฐฯ และฝรั่งเศสมาอยู่ด้วยกัน ; ประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน(เยอรมนีตะวันออก) เมื่อ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1949 โดยนำเขตยึดครองของสหภาพโซเวียตมารวมเข้าด้วยกัน ; รวมประเทศเยอมนีตะวันตกและเยอรมนีตะวันออกเข้าเป็นหนึ่งเดียวเมื่อ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1990 และประกาศยกเลิกสิทธิของ 4 มหาอำนาจอย่างเป็นทางการ เมื่อ 15 มีนาคม ค.ศ. 1991
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์และแนวความคิดของท้องถิ่นไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันรวมชาติเยอรมัน 3 ธันวาคม (ค.ศ. 1990)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ สภาสูง และสภาล่าง
ฝ่ายตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ18 ปี

รวันดา,Rwanda,การเมืองและการปกครองของประเทศทั่วโลก


ชื่อทางการ สาธารณรัฐรวันดา
(Republic of Rwanda)
เมืองหลวง คิกาลี
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 18 กันยายน ค.ศ. 1962
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 10 จังหวัด
วันได้เอกราช 1 สิงหาคม ค.ศ. 1962(เดิมเป็นดินแดนภาวะทรัสตีของสหประชาชาติภายใต้การบริหารของเบลเยียม)
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์เยอรมันและเบลเยียมและคัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 1 สิงหาคม (ค.ศ. 1962)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาพัฒนาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ(ศาลฎีกากับสภาแห่งรัฐประชุมร่วมกัน)
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ ไม่มีข้อมูล

รัสเซีย:Russia


ชื่อทางการ สหพันธรัฐรัสเซีย
(Russian Federation)
เมืองหลวง มอสโก
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สหพันธรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 49 เขตใหญ่ 21 สาธารณรัฐ และ 10 เขตปกครองตนเอง
วันได้เอกราช 24 สิงหาคม ค.ศ. 1991(จากสหภาพโซเวียต)
ระบบกฎหมาย ซิวิลลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาสหพันธ์(สภาคู่) คือ สภาสหพันธ์ และสภาดูมาแห่งรัฐ
ฝ่ายตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ,ศาลสูงสุด, ศาลสูงอนุญาโตตุลาการ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

โรมาเนีย:Romania


ชื่อทางการ -
เมืองหลวง บูคาเรสต์
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 40 จังหวัด
วันได้เอกราช ค.ศ. 1881(จากตุรกี) ประกาศเป็นสาธารณรัฐเมื่อ 30 ธันวาคม ค.ศ. 1947
ระบบกฎหมาย เดิมผสมระหว่างระบบซิวิลลอว์กับทฤษฎีกฎหมายคอมมิวนิสต์ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองอยู่ระหว่างแก้ไขเปลี่ยนแปลงใหม่
วันชาติ วันชาติโรมาเนีย 1 ธันวาคม ค.ศ. 1990
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ลักเซมเบิร์ก Luxembourg


ชื่อทางการ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก
(Grand Duchy of Luxembourg)
เมืองหลวง ลักเซมเบิร์ก
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง รัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 3 เขต
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ ยอมรับคำตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันฉลองวันพระราชสมภพของแกรนด์ดยุค 23 มิถุนายน (ค.ศ. 1921)
ฝ่ายบริหาร แกรนด์ดยุค นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎร(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 18 ปี

ลัตเวีย:Latvia


ชื่อทางการ สาธารณรัฐลัตเวีย
(Republic of Latvia)
เมืองหลวง ริกา
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1991
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 26 เขตใหญ่ 7 เขตนคราภิบาล
วันได้เอกราช 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ถูกผนวกโดยสหภาพโซเวียต 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1940 ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียตเมื่อ 6 กันยายน ค.ศ. 1991

ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันได้เอกราชจากโซเวียตรัสเซีย 18 พฤศจิกายน (ค.ศ.1918)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ลาว:Lao


ชื่อทางการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
เมืองหลวง เวียงจันทน์
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐสังคมนิยม (รัฐคอมมิวนิสต์) มีพรรคการเมืองพรรคเดียว ประธานประเทศเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 16 แขวง
วันได้เอกราช 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1949(จากฝรั่งเศส)
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันประกาศเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2 ธันวาคม (ค.ศ. 1975)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชนสูงสุด
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุดประชาชน
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ลิกเตนสไตน์:Liechtenstein


ชื่อทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์
(Principality of Liechtenstein)
เมืองหลวง วาดุซ
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 18 กันยายน ค.ศ. 1990
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา กษัตริย์(เจ้าชาย)เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 11 คอมมูน
วันได้เอกราช 23 มกราคม ค.ศ. 1719 โดยได้สถาปนาเป็นราชรัฐลิกเตนสไตน์
ระบบกฎหมาย ประมวลกฎหมายซิวิลลอว์และการลงโทษแบบท้องถิ่น ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันอัสสัมชัน 15 สิงหาคม
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล รองหัวหน้ารัฐบาล
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาไดเอท(สภาเดี่ยว)
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ลิทัวเนีย:Lithuania


ชื่อทางการ สาธารณรัฐลิทัวเนีย
(Republic of Lithuania)
เมืองหลวง วิลนีอุส
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1991
ระบอบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐนายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตปกครอง 44 เขต
วันได้เอกราช ค.ศ. 1919 ถูกสหภาพโซเวียตผนวกเมื่อ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1940 ประกาศเอกราชเมื่อ 11 มีนาคม ค.ศ. 1990 และได้เอกราชจากสหภาพโซเวียต เมื่อ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 16 กุมภาพันธ์ และวันผู้ปกป้องเสรีภาพ 13 มกราคม
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด,ศาลอุทธรณ์
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ลิเบีย:Libya


ชื่อทางการ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย
(The Great Socialist People’s Libyan)
เมืองหลวง ตริโปลี
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
ระบบการปกครอง รัฐมวลชนในทางทฤษฎี แต่โดยที่แท้เป็นเผด็จการทางทหาร
เขตการปกครอง 25 เขต
วันได้เอกราช 24 ธันวาคม ค.ศ. 1951(จากอิตาลี)
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ของอิตาลีและกฎหมายอิสลาม ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันปฏิวัติ 1 กันยายน (ค.ศ. 1969)
ฝ่ายบริหาร ผู้นำการปฏิวัติ ประธานคณะกรรมาธิการประชาชนทั่วไป(นายกรัฐมนตรี) คณะกรรมาธิการประชาชนทั่วไป(คณะรัฐมนตรี)
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาประชาชนทั่วไป(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 18 ปี

เลโซโท:Lesotho


ชื่อทางการ ราชอาณาจักรเลโซโท
(Kingdom of Lesotho)
เมืองหลวง มาเซรู
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 17 ตุลาคม ค.ศ. 1966
ระบบการปกครอง รัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล มีระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค
เขตปกครอง 10 เขต
วันได้เอกราช 4 ตุลาคม ค.ศ. 1966 (จากสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษและกฎหมายโรมัน-ดัตช์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 4 ตุลาคม (ค.ศ. 1966)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ ประธานสภาทหาร สภาทหาร คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ ไม่มี เนื่องจากเกิดรัฐประหารเมื่อ มกราคม ค.ศ. 1986
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 21 ปี

เลบานอน:Lebanon


ชื่อทางการ สาธารณรัฐเลบานอน
(Republic of Lebanon)
เมืองหลวง เบรุต
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง แบ่งเขตการปกครองโดยมีอิสราเอลเข้าไปมีบทบาทติดอาวุธและฝึกกองทัพเลบานอนภาคใต้(เอเอสเอล) ซึ่งยึดครองเขตความมั่นคงและเป็นแนวป้องกันแนวแรกเพื่อป้องกันการโจมตีทางพรมแดนทางเหนือของตน
วันได้เอกราช 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1943(เดิมเป็นดินแดนอาณัติของสันนิบาตชาติภายใต้การบริหารของฝรั่งเศส)
ระบบกฎหมาย ผสมระหว่างกฎหมายออตโตมาน แคนนอนลอว์ นโปเลียนลอว์ และซิวิลลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 22 พฤศจิกายน(ค.ศ. 1943)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ตามประเพณีนิยม ประธานาธิบดีต้องเป็นคริสเตียน ส่วนนายกรัฐมนตรีต้องเป็นมุสลิมนิกายซุนหนี่
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ มีศาลสูงสุด 4 ศาล
สิทธิการเลือกตั้ง บังคับเพศชาย 21 ปี เพศหญิง 21 ปี แต่ต้องเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ

ไลบีเรีย:Liberia


ชื่อทางการ สาธารณรัฐไลบีเรีย
(Republic of Liberia)
เมืองหลวง มันโรเวีย
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 13 เขต
วันได้เอกราช 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1847
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์แองโกลอเมริกัน และคัสตอมมารีลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 26 กรกฎาคม (ค.ศ. 1847)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุดของประชาชน
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

วานูอาตู:Vanuatu


ชื่อทางการ สาธารณรัฐวานูอาตู
(Republic of Vanuatu)
เมืองหลวง พอร์ตวิลา
ที่ตั้ง เขตโอเชียเนีย
สมาชิกสหประชาชาติ 15 กันยายน ค.ศ. 1981
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 11 สภาหมู่เกาะ
วันได้เอกราช 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1980(จากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย ผสมระหว่างระบบกฎหมายฝรั่งเศสกับกฎหมายอังกฤษ
วันชาติ วันได้เอกราช 30 กรกฎาคม (ค.ศ. 1980)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

เวเนซุเอลา:Venezuela


ชื่อทางการ สาธารณรัฐเวเนซุเอลา
(Republic of Venezuela)
เมืองหลวง คารากัส
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาใต้
สมาชิกสหประชาชาติ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ และประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 21 รัฐ 1 เฟดเดอรัลเทอร์ริทอรี และ 1 เฟดเดอรัลดีเพนเดนซ์
วันได้เอกราช 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1811(จากสเปน)
ระบบกฎหมาย อิงประมวลกฎหมายนโปเลียน ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 5 กรกฎาคม (ค.ศ. 1811)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาแห่งสาธารณรัฐ (สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

Tuesday, November 24, 2009

เวียดนาม:Vietnam


ชื่อทางการ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
เมืองหลวง ฮานอย
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 20 กันยายน ค.ศ. 1977
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐสังคมนิยม มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว คือ พรรคคอมมิวนิสต์
เขตการปกครอง 50 จังหวัด
วันได้เอกราช 2 กันยายน ค.ศ. 1945(จากฝรั่งเศส)
ระบบกฎหมาย อิงทฤษฎีกฎหมายคอมมิวนิสต์และระบบซิวิลลอว์ฝรั่งเศส
วันชาติ วันได้เอกราช 2 กันยายน (ค.ศ. 1945)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลประชาชนสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

ศรีลังกา:Sri Lanka



ชื่อทางการ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา
(Democratic Socialist Republic of Sri Lanka)
เมืองหลวง โคลัมโบ
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ แบบรัฐสภา ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 9 จังหวัด
วันได้เอกราช 4 กุมภาพันธ์ 1948(จากสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย ผสมคอมมอนลอว์อังกฤษ โรมัน-ดัตช์ มุสลิม สิงหล คัสตอมมารีลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 4 กุมภาพันธ์ (ค.ศ. 1948)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

สเปน:Spain



ชื่อทางการ ราชอาณาจักรสเปน
(Kingdom of Spain)
เมืองหลวง มาดริด
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
ระบบการปกครอง รัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 17 ประชาคมปกครองตนเอง
วันได้เอกราช ค.ศ. 1492(ขับไล่พวกแขกมัวร์และรวมประเทศได้สำเร็จ)
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 12 ตุลาคม
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ ประธานรัฐบาล(นายกรัฐมนตรี) รองนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี สภาแห่งรัฐ
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

สโลวะเกีย:Slovakia


ชื่อทางการ สาธารณรัฐสโลวัก
(Slovak Republic)
เมืองหลวง บราทิสลาวา
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 19 มกราคม ค.ศ. 1993
ระบบการปกครอง สหพันธ์สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา แยกตัวมาจากเชโกสโลวะเกียโดยแยกเป็นสาธารณรัฐเช็กกับสโลวะเกีย ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 8 เขต
วันได้เอกราช 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993(เชโกสโลวะเกียแตกเป็น 2 รัฐ คือ สาธารณรัฐเช็ก และสโลวะเกีย)
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์บนพื้นฐานของประมวลกฎหมายออสโตร-ฮังกาเรียน ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันรัฐธรรมนูญ 1 กันยายน (ค.ศ. 1992)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ สภาสูงสุด, ศาลรัฐธรรมนูญ
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

สโลวีเนีย:Slovenia



ชื่อทางการ สาธารณรัฐสโลวีเนีย
(Republic of Slovenia)
เมืองหลวง ลีอูบลีอานา
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1992
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตปกครอง 136 เขตนคราภิบาล
วันได้เอกราช 25 มิถุนายน ค.ศ. 1991(จากยูโกสลาเวีย)
ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 25 มิถุนายน (ค.ศ. 1991)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด,ศาลรัฐธรรมนูญ
สิทธิการเลือกตั้ง อายุ 16 ปี(มีงานทำ) สากล อายุ18 ปี

สวาซิแลนด์ :Swaziland



ชื่อทางการ ราชอาณาจักรสวาซิแลนด์
(Kingdom of Swaziland)
เมืองหลวง อึมบาบาน
ที่ตั้ง ทวีปแอฟริกา
สมาชิกสหประชาชาติ 24 กันยายน ค.ศ. 1968
ระบบการปกครอง แบบรัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 4 เขต
วันได้เอกราช 6 กันยายน ค.ศ. 1968(จากสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายโรมัน-ดัตช์ของแอฟริกาใต้ ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังตับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันได้เอกราช 6 กันยายน(ค.ศ. 1968)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา (สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลอุทธรณ์
ลิทธิการเลือกตั้ง ไม่มีข้อมูล

สวิตเซอร์แลนด์:Switzerland



ชื่อทางการ สมาพันธรัฐสวิส
(Swiss Confederation)
เมืองหลวง เบิร์น
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 10 กันยายน ค.ศ. 2002
ระบบการปกครอง สหพันธ์สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ มี Federal Council of Switzerland เป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 26 เขต(แคนตัน)
วันได้เอกราช 1 สิงหาคม ค.ศ. 1291
ระบบกฎหมาย ซิวิลลอว์ที่ได้รับอิทธิพลจากคัสตอมมารีลอว์ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันเฉลิมฉลองการสถาปนาสมาพันธรัฐสวิส 1 สิงหาคม (ค.ศ. 1291)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี สภาสมาพันธ์
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาแห่งสมาพันธ์(สภาคู่) คือ เคาซิลออฟสเต็ต และแนชั่นแนลเคาซิล
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสมาพันธ์
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

สวีเดน:Sweden



ชื่อทางการ ราชอาณาจักรสวีเดน
(Kingdom of Sweden)
เมืองหลวง สตอกโฮล์ม
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1946
ระบบการปกครอง รัฐสภา กษัตริย์เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล(มีอำนาจทางการเมืองอย่างแท้จริง)
เขตการปกครอง 24 จังหวัด
วันได้เอกราช 6 มิถุนายน ค.ศ. 1809 เมื่อได้มีการสถาปนาระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์โดยได้รับอิทธิพลจากคัสตอมมารีลอว์ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันฉลองธงสวีเดน 6 มิถุนายน
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

สหรัฐอเมริกา:United States Of America


ชื่อทางการ -
เมืองหลวง วอชิงตัน ดี.ซี.
ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนือ
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง สหพันธรัฐ ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 50 รัฐและ 1 ดิสทริกท์
วันได้เอกราช 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776(จากอังกฤษ)
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาสยุติธรรมระหว่างประเทศโดยมีข้อสงวน
วันชาติ วันได้เอกราช 4 กรกฎาคม(ค.ศ. 1776)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี คณะรัฐบาล
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

สหราชอาณาจักร:United Kingdom



ชื่อทางการ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ
(United Kingdom Of Great Britain and Northern Ireland)
เมืองหลวง ลอนดอน
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง แม่แบบการปกครองแบบรัฐสภา พระนางเจ้าเอลซาเบธที่ 2 เป็นประมุขรัฐ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล(มีอำนาจทางการเมืองอย่างแท้จริง)
เขตการปกครอง 47 เคาทรี 7 เมโทรโพลิทันเคาตรี 26 ดิสทริกท์ 9 รีจัน และ 3 พื้นที่เกาะ
วันได้เอกราช 1 มกราคม ค.ศ. 1801 เมื่อมีการสถาปนาสหราชอาณาจักร
ระบบกฎหมาย คอมมอนลอว์ที่ได้รับอิทธิพลจากโรมันและจากภาคพื้นยุโรปยุคต้นๆ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันเฉลิมพระชนมพรรษาวันพระราชสมภพของพระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2(เสาร์ที่ 2 ของเดือนมิถุนายน)
ฝ่ายบริหาร พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา (สภาคู่) คือ สภาสามัญ และสภาขุนนาง
ฝ่ายตุลาการ สภาขุนนาง
สิทธิการเลือกตั้ง สากล 18 ปี

สิงคโปร์:Singapore


ชื่อทางการ สาธารณรัฐสิงคโปร์
(Republic of Singapore)
เมืองหลวง สิงคโปร์
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 21 กันยายน ค.ศ. 1965
ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ(ไม่อำนาจทางการเมือง) นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล(มีอำนาจทางการเมืองอย่างแท้จริง)
เขตการปกครอง ไม่มี
วันได้เอกราช 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965(จากมาเลเซีย)
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ ไม่ยอมรับการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 9 สิงหาคม(ค.ศ. 1965)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 20 ปี

หมู่เกาะโซโลมอน:Solomon Islands


ชื่อทางการ -
เมืองหลวง โฮนีอารา
ที่ตั้ง เขตโอเชียเนีย
สมาชิกสหประชาชาติ 19 กันยายน ค.ศ. 1978
ระบบการปกครอง รัฐสภา พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุข
เขตการปกครอง 7 จังหวัด และ 1 เมือง
วันได้เอกราช 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1978(จากอังกฤษ)
ระบบกฎหมาย คอมมอนลอว์
วันชาติ วันได้เอกราช 7 กรกฎาคม (ค.ศ. 1978)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาแห่งชาติ(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 21 ปี

หมู่เกาะมาร์แชลล์:Marshall Islands


ชื่อทางการ สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์
(Republic of the Marshall Islands)
เมืองหลวง มาจูโร
ที่ตั้ง เขตโอเชียเนีย
สมาชิกสหประชาชาติ 17 กันยายน ค.ศ. 1991
รูปแบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขรัฐและประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง ไม่มี
วันได้เอกราช 21 ตุลาคม ค.ศ. 1986(เดิมเป็นดินแดนภาวะทรัสตีของสหประชาชาติภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกา)
ระบบกฎหมาย อิงกฎหมายดินแดนภาวะทรัสตีที่ปรับปรุงแก้ไข รัฐบัญญัติ เทศบัญญัติ กฎหมายคอมมอนลอว์และคัสตอมมารีลอว์
วันชาติ วันประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ 1 พฤษภาคม (ค.ศ. 1979)
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

Monday, November 23, 2009

ออสเตรเลีย:Australia



ชื่อทางการ เครือรัฐออสเตรเลีย
(Commonwealth of Australia)
เมืองหลวง แคนเบอร์รา
ที่ตั้ง เขตโอเชียเนีย
สมาชิกสหประชาชาติ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1945
ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา(parliamentary democracy) จัดการปกครองเป็นแบบสหพันธรัฐ พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล
เขตการปกครอง 6 รัฐ 6 เทอร์ริทอรี
วันได้เอกราช 1 มกราคม ค.ศ. 1901(สหพันธรัฐอาณานิคมของสหราชอาณาจักร)
ระบบกฎหมาย อิงคอมมอนลอว์อังกฤษ ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ วันออสเตรเลีย 26 มกราคม(ค.ศ.1788)
ฝ่ายบริหาร กษัตริย์อังกฤษ(พระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ) ผู้สำเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาเครือรัฐออสเตรเลีย(สภาคู่) คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูง
สิทธิการเลือกตั้ง สากลและบังคับ อายุ 18 ปี

ออสเตรีย:Austria


ชื่อทางการ สาธารณรัฐออสเตรีย
(Republic of Austria)
เมืองหลวง เวียนนา
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1955
ระบบการปกครอง สหพันธ์สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย แบบมีผู้แทน ประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล( federal parliamentary representative democratic republic)
เขตการปกครอง 9 รัฐ
วันได้เอกราช 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918(จากจักรวรรดิออสโตร-ฮังกาเรียน)
ระบบกฎหมาย ระบบซิวิลลอว์โดยมีแหล่งกำเนิดจากกฎหมายโรมัน ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 26 ตุลาคม (ค.ศ. 1955) วันอนุสรณ์ที่ผ่านกฎหมายความเป็นกลางถาวร
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาสหพันธ์ (สภาคู่)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 19 ปี บังคับสำหรับการเลือกตั้งประธานาธิบดี

อัฟกานิสถาน:Afghanistan



อัฟกานิสถาน Afghanistan
ชื่อทางการ สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน
(Islamic Republic of Afghanistan)
เมืองหลวง คาบูล
ที่ตั้ง ทวีปเอเชีย
สมาชิกสหประชาชาติ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1946
ระบอบการปกครอง อยู่ในระหว่างการครอบงำโดยกองกำลังขององค์การแอตแลนติกเหนือ(นาโต)ตั้งแต่ ค.ศ. 2001 พยายามจัดการปกครองแบบสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุขรัฐ
เขตการปกครอง 30 จังหวัด
วันได้เอกราช 19 สิงหาคม ค.ศ.1919(จากสหราชอาณาจักรที่ควบคุมกิจการต่างประเทศ)
ระบบกฎหมาย ปกครองประเทศอิงหลักกฎหมายอิสลาม
วันชาติ 28 เมษายนวันชัยชนะของมุสลิม 4 พฤษภาคม วันรำลึกถึงผู้สละชีพเพื่อชาติและผู้ทุพพลภาพ 19 สิงหาคม วันได้รับเอกราช
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) วุฒิสภา และ สภาประชาชน
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด(supreme court)
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

อันดอร์รา:Andorra


ชื่อทางการ ราชรัฐอันดอร์รา
(Principality of Andorra)
เมืองหลวง อันดอร์รา
ที่ตั้ง ทวีปยุโรป
สมาชิกสหประชาชาติ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1976
ระบบการปกครอง ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา เป็นราชรัฐพิเศษอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยอย่างเป็นทางการของประธานาธิบดีฝรั่งเศสและของบิชอปเซโอเดอเออร์เกลแห่งสเปน ทั้งนี้โดยมีเจ้าชาย 2 องค์ทำหน้าที่เป็นผู้แทนท้องถิ่นเรียกว่า venguers
เขตการปกครอง 7 เขต
วันได้เอกราช ค.ศ. 1278
รัฐธรรมนูญ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1994
ระบบกฎหมาย อิงประมวลกฎหมายฝรั่งเศสและสเปน ไม่ยอมรับอำนาจการตัดสินภาคบังคับของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
วันชาติ 8 กันยายน (ค.ศ. 1278)
ฝ่ายบริหาร มีเจ้าผู้ปกครอง 2 องค์ องค์หนึ่งที่เป็นผู้แทนของประธานาธิบดีฝรั่งเศสและอีกองค์หนึ่งเป็นผู้แทนของบิชอปเซโอเดอเออร์เกลแห่งสเปน เป็นประมุขรัฐร่วม ประธานรัฐบาล(นายกรัฐมนตรี) สภาฝ่ายบริหาร(คณะรัฐมนตรี)
ฝ่ายนิติบัญญัติ สภาใหญ่แห่งหุบเขา (สภาเดี่ยว)
ฝ่ายตุลาการ ศาลสูงสุด (Superior Court of Justice)
สิทธิการเลือกตั้ง สากล อายุ 18 ปี

Elephantstay,Thailand,

Elephantstay,Thailand,
Llive,work and play with elephants